กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ฉบับที่ 122/2565
/
พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า
ระหว่างวันที่ 12 ? 18 ตุลาคม พ.ศ. 2565
ออกประกาศวันพุธที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2565
การคาดหมายลักษณะอากาศ ในช่วงวันที่ 12?15 ต.ค. 65 บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นกาลังปานกลางจากประเทศจีนปกคลุมประเทศไทยตอนบนและทะเลจีนใต้ ทาให้ประเทศไทยตอนบนมีฝนน้อย ขณะที่ในช่วงวันที่ 13?14 ต.ค. 65 หย่อมความกดอากาศต่ากาลังแรงที่ปกคลุมบริเวณด้านตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์ คาดว่าจะลงสู่ทะเลจีนใต้ตอนกลางและเคลื่อนเข้าใกล้ชายฝั่งประเทศเวียดนามตอนใต้ ส่งผลทาให้ในช่วงวันที่ 14?15 ต.ค. 65 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลางรวมทั้งกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจะมีฝนเพิ่มขึ้นโดยจะมีฝนตกหนักบางแห่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ส่วนในช่วงวันที่ 16?18 ต.ค. 65 บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนกาลังค่อนข้างแรงอีกระลอกหนึ่งจะปกคลุมประเทศไทยตอนบนและทะเลจีนใต้ ทาให้ประเทศไทยตอนบนมีอุณหภูมิลดลง 2?4 องศาเซลเซียสกับมีลมแรงในภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ ในขณะที่ร่องมรสุมพาดผ่านบริเวณภาคใต้ตอนกลาง ทาให้ภาคใต้มีฝนตกต่อเนื่องและมีฝนตกหนักบางแห่ง
คาเตือน บริเวณประเทศไทยตอนบนขอให้ประชาชนดูแลสุขภาพ เนื่องจากสภาพอากาศที่แปรปรวน สาหรับภาคใต้ ขอให้ระวังอันตรายจากฝนตกหนักและฝนที่ตกสะสม ซึ่งอาจก่อให้เกิดน้าท่วมฉับพลัน น้าป่าไหลหลาก และน้าล้นตลิ่งได้
คาแนะนาสาหรับการเกษตร
ภาค
พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า และผลกระทบต่อพืช/สัตว์
เหนือ
ในช่วงวันที่ 13?15 ต.ค. 65 มีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 10-20 ของพื้นที่ ส่วนในช่วงวันที่ 16?18 ต.ค. 65 อากาศเย็นในตอนเช้า กับมีลมแรง และมีฝนฟ้าเล็กน้อยบางพื้นที่ โดยอุณหภูมิจะลดลง 2?4 องศาเซลเซียส ลมตะวันออก ความเร็ว 10-20 กม./ชม. อุณหภูมิต่าสุด 18-24 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 29-33 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 65-75 % ความยาวนานแสงแดด 5-8 ชม.
- ระยะนี้เป็นช่วงเปลี่ยนฤดู จากฤดูฝนเข้าสู่ฤดูหนาว ทาให้อากาศเปลี่ยนแปลง เกษตรกรควรดูแลสุขภาพให้แข็งแรง เพื่อป้องกันการเจ็บป่วย สาหรับเกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์ โดยเฉพาะสัตว์ปีก ควรควบคุมอุณหภูมิภายในโรงเรือนอย่าให้เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว เพื่อป้องกันสัตว์เลี้ยงปรับตัวไม่ทัน จะทาให้สัตว์เลี้ยงอ่อนแอและเป็นโรคได้ง่าย นอกจากนี้ในช่วงที่ผ่านมาหลายพื้นที่ถูกน้าท่วมขัง หากระดับน้าลดลงแล้ว เกษตรกรควรรีบฟื้นฟูสภาพสวนและแหล่งน้าให้กลับมาใช้งานได้ตามปกติ เพราะหากปล่อยให้น้าท่วมขังเป็นเวลานาน จะทาให้รากพืชขาดอากาศต้นพืชตายได้ รวมทั้งควรระวังการระบาดของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราในพืชไร่ ไม้ผล และพืชผักไว้ด้วย
ตะวันออก เฉียงเหนือ
ในช่วงวันที่ 12?13 ต.ค. 65 อากาศเย็นในตอนเช้า และมีฝนฟ้าเล็กน้อยบางพื้นที่ ส่วนในช่วงวันที่ 14?15 ต.ค. 65 มีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 20-40 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางแห่งกับมีลมแรง และในช่วงวันที่ 16-18 ต.ค. 65 มีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 10-20 ของพื้นที่กับมีลมแรง โดยอุณหภูมิจะลดลง 2?4 องศาเซลเซียส ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 10-30 กม./ชม. อุณหภูมิต่าสุด 16-23 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 27-32 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 65-75 % ความยาวนานแสงแดด 5-7 ชม.
- ระยะนี้เป็นช่วงเปลี่ยนฤดู จากฤดูฝนเข้าสู่ฤดูหนาว จะมีลักษณะอากาศแปรปรวน โดยอุณหภูมิจะลดลง 2-4 องศาเซลเซียส และมีลมแรง เกษตรกรควรดูแลสุภาพให้แข็งแรง เพื่อป้องกันการเจ็บป่วย สาหรับพื้นที่ซึ่งถูกน้าท่วมขังในช่วงที่ผ่านมา หากระดับน้าลดลงแล้ว เกษตรกรควรรีบฟื้นฟูสภาพสวนและแหล่งน้าให้กลับมาใช้งานได้ตามปกติ รวมทั้งควรระวังการระบาดของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราในพืชไร่ ไม้ผล และพืชผักไว้ด้วย
กลาง
ในช่วงวันที่ 13?14 ต.ค. 65 อากาศเย็นในตอนเช้า และมีฝนฟ้าเล็กน้อยบางพื้นที่ ส่วนในช่วงวันที่ 15?16 ต.ค. 65 มีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 20-40 ของพื้นที่ และในช่วงวันที่ 17-18 ต.ค. 65 มีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 10-20 ของพื้นที่กับมีลมแรง โดยอุณหภูมิจะลดลง 1?3 องศาเซลเซียส ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 10-25 กม./ชม. อุณหภูมิต่าสุด 21-26 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 29-32 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 70-80 % ความยาวนานแสงแดด 5-7 ชม.
- ระยะนี้ปริมาณและการกระจายของฝนจะลดลง เกษตรกรควรระวังการระบาดของศัตรูพืชจาพวกหนอนในพืชไร่ ไม้ผล และพืชผัก เช่น หนอนม้วนใบและหนอนกระทู้ผักในถั่วเขียว เป็นต้น สาหรับพื้นที่การเกษตรซึ่งถูกน้าท่วมขังในช่วงที่ผ่านมา หากระดับน้าลดลงแล้ว เกษตรกรควรรีบระบายน้าออกจากแปลงปลูก ไม่ควรปล่อยให้น้าท่วมขังเป็นเวลานาน เพราะจะทาให้รากพืชขาดอากาศ และต้นพืชตายได้ รวมทั้งควรระวังการระบาดของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราไว้ด้วย
2
ตะวันออก
ในช่วงวันที่ 13?14 ต.ค. 65 อากาศเย็นในตอนเช้า และมีฝนฟ้าเล็กน้อยบางพื้นที่ โดยในช่วงวันที่ 15?16 ต.ค. 65 มีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 20-40 ของพื้นที่กับมีลมแรง และในช่วงวันที่ 17-18 ต.ค. 65 มีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 10-30 ของพื้นที่กับมีลมแรง โดยอุณหภูมิจะลดลง 1?3 องศาเซลเซียส ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-30 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 1 เมตร อุณหภูมิต่าสุด 21-24 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 29-32 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 70-80 % ความยาวนานแสงแดด 4-7 ชม.
- ระยะนี้ปริมาณและการกระจายของฝนจะลดลง แต่เนื่องจากในช่วงที่ผ่านมาหลายพื้นที่มีฝนตกติดต่อกันและมีน้าท่วมขัง เกษตรกรควรระวังการระบาดของโรคที่เกิดจากเชื้อรา เช่น โรครากเน่าโคนเน่าในไม้ผล โรคใบติดในทุเรียน โรคหน้ากรีดยางในยางพารา เป็นต้น สาหรับเกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์ ไม่ควรปลอยให้สัตว์เลี้ยงอยู่ในที่ชื้นแฉะเป็นเวลานาน เพราะจะทาให้สัตว์เลี้ยงอ่อนแอและเป็นโรคได้ง่าย โดยเฉพาะโรคปากและเท้าเปื่อยในสัตว์เท้ากีบ
ใต้
ฝั่งตะวันออก ในช่วงวันที่ 12?15 ต.ค. 65 มีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 40-60 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางแห่ง ลมตะวันตกเฉียงเหนือ ความเร็ว 20-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ส่วนในช่วงวันที่ 16?18 ต.ค. 65 มีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 60-70 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางแห่ง ลมตะวันตกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร อุณหภูมิต่าสุด 22-25 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 28-34 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 80-90 % ความยาวนานแสงแดด 4-7 ชม.
ฝั่งตะวันตก ในช่วงวันที่ 13?15 ต.ค. 65 มีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 40-60 ของพื้นที่ ลมตะวันตกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-30 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูง 1-2 เมตร ในช่วงวันที่ 16-18 ต.ค. 65 มีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 60-70 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางแห่ง ลมตะวันตกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร อุณหภูมิต่าสุด 22-25 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 29-33 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 80-90 % ความยาวนานแสงแดด 4-6 ชม.
- ระยะนี้จะยังคงมีฝนตกหนักบางพื้นที่ เกษตรควรระวังอันตรายและป้องกันความเสียหายจากฝนตกหนักและฝนที่ตกสะสม ซึ่งอาจก่อให้เกิดน้าท่วมฉับพลัน น้าป่าไหลหลากได้ สาหรับในช่วงที่มีฝนตกติดต่อกัน ทาให้ดินและอากาศมีความชื้นสูง เกษตรกรควรระวังการระบาดของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เช่น โรครากเน่าโคนเน่าในไม้ผล โรคใบติดในทุเรียน โรคราสนิมในกาแฟ โรคหน้ากรีดยางในยางพารา เป็นต้น อนึ่ง ในช่วงวันที่ 12-15 ต.ค. บริเวณทะเลอ่าวไทยจะมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองมีคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ชาวเรือและชาวประมงควรเพิ่มความระมัดระวังในการเดินเรือ
PK
ลักษณะอากาศในรอบ 7 วันที่ผ่านมา
ระหว่างวันที่ 5?11 ตุลาคม 2565 มีรายงานฝนตกหนักมากบริเวณจังหวัดนครสวรรค์ กรุงเทพมหานคร กาญจนบุรี นครปฐม ราชบุรี สมุทรสงคราม ชลบุรี ระยอง เพชรบุรี ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ส่วนบริเวณจังหวัดที่มีฝนตกหนัก ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ ลาพูน น่าน อุตรดิตถ์ ตาก สุโขทัย พิษณุโลก กาแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ์ เลย มหาสารคาม นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี ลพบุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี สมุทรปราการ นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา จันทบุรี ตราด ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล
สาหรับบริเวณที่มีฝนตกหนัก และฝนหนักมากที่สุดตามภาคต่างๆ และกรุงเทพมหานคร มีดังนี้
ภาคเหนือ
67.7
มม.
ที่
อ.ลานกระบือ
จ.กาแพงเพชร
เมื่อวันที่
7
ต.ค.
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
71.6
มม.
ที่
อ.ประคา
จ.บุรีรัมย์
เมื่อวันที่
7
ต.ค.
ภาคกลาง
123.4
มม.
ที่
สนง.เกษตรจังหวัด อ.เมือง
จ.นครปฐม
เมื่อวันที่
9
ต.ค.
ภาคตะวันออก
161.1
มม.
ที่
อ.บ้านฉาง
จ.ระยอง
เมื่อวันที่
10
ต.ค.
ภาคใต้
136.6
มม.
ที่
อ.หนองจิก
จ.ปัตตานี
เมื่อวันที่
7
ต.ค.
กรุงเทพมหานคร
110.5
มม.
ที่
ท่าเรือกรุงเทพ
เขตคลองเตย
เมื่อวันที่
7
ต.ค.
หมายเหตุ
เกณฑ์ปริมาณฝน ฝนเล็กน้อย ฝนปานกลาง ฝนหนัก ฝนหนักมาก
ปริมาณฝนที่วัดได้ (มม.) 0.1-10.0 10.1-35.0 35.1- 90.0 มากกว่า 90.0
สอต. หมายถึง สถานีอุตุนิยมวิทยา, กกษ. หมายถึง กลุ่มงานอากาศเกษตร
ส่วนอุตุนิยมวิทยาเกษตร กองพัฒนาอุตุนิยมวิทยา
กรมอุตุนิยมวิทยา
40-70%
ภาคเหนือ
ภาคกลาง
ภาคตะวันออก
ภาคใต้
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ระหว่างวันที่ 12 ?18 ตุลาคม2565 ส่วนอุตุนิยมวิทยาเกษตร 02-399-2387 ; 02-366-9336 อุณหภูมิ ความยาวนานแสงแดด คลื่น ระวัง น้าท่วมฉับพลัน น้าป่าไหลหลาก ฝน ระวัง โรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ระวัง ศัตรูพืชจาพวกหนอน เร่งฟื้นฟู หลังน้าลด ไม่อยู่ในที่ชื้นแฉะ เร่งฟื้นฟู หลังน้าลด ระวัง โรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ดูแลสุขภาพ ควบตุมอุณหภูมิ ฉบับที่122/2565 พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า 1-2ม. ประมาณ 2 ม. (12-15 ต.ค.) 1-2ม. 10-20% 10-40% 10-40% 10-40% 40-70% [18-24/29-33] 5-8ชม. :ความชื้นสัมพัทธ์ 65-75% [16-23/27-32] 5-7ชม. :ความชื้นสัมพัทธ์ 65-75% [21-26 /29-32] 5-7 ชม. :ความชื้นสัมพัทธ์ 70-80% [21-24/29-32] 4-7 ชม. :ความชื้นสัมพัทธ์ 70-80% [22-25 /28-34] 4-7ชม. :ความชื้นสัมพัทธ์ 80-90% 1-2ม. ดูแลสุขภาพ ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา