พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า ระหว่างวันที่ 21 - 27 ตุลาคม พ.ศ. 2565

ข่าวทั่วไป Friday October 21, 2022 15:26 —กรมอุตุนิยมวิทยา

พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า

ระหว่างวันที่ 21 ? 27 ตุลาคม พ.ศ. 2565

ออกประกาศวันศุกร์ที่21 ตุลาคม พ.ศ. 2565

กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

ฉบับที่ 126/2565

/

พย ก รณ์อ ก ศเพื่อก รเกษต ร 7 วันข้ งหน้

ระหว่างวันที่21 ? 27 ตุลาคม พ.ศ. 2565

ออกประกาศวันศุกร์ที่21 ตุลาคม พ.ศ. 2565

การคาดหมายลักษณะอากาศ ในช่วงวันที่ 21?22 ต.ค. 65ร่องมรสุมพาดผ่านบริเวณภาคใต้ตอนกลาง ประกอบกับมีหย่อมความกดอากาศ
ต่าก่าลังแรงปกคลุมบริเวณทะเลอันดามันตอนกลาง ท่าให้ลมตะวันตกเฉียงใต้บริเวณทะเลอันดามันมีก่าลังแรง ลักษณะเช่นนี้ท่าให้คลื่นลม
บริเวณทะเลอันดามันตอนบนมีก่าลังแรง โดยมีคลื่นสูง 2?3 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 3 เมตร ส่าหรับบริเวณความกด
อากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นที่ปกคลุมประเทศไทยตอนบนมีก่าลังอ่อนลง ท่าให้ประเทศไทยตอนบนมีอุณหภูมิสูงขึ้น กับมีหมอกในตอนเช้า
ประกอบกับมีลมตะวันออกพัดน่าความชื้นเข้ามาปกคลุมบริเวณประเทศไทยตอนบน ส่งผลให้ประเทศไทยตอนบนมีฝนเล็กน้อยบางแห่ง ส่าหรับ
ภาคใต้มีฝนตกต่อเนื่องและมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง ส่วนในช่วงวันที่ 23?27 ต.ค. 65 ร่องมรสุมจะเลื่อนขึ้นไปพาดผ่านบริเวณภาคใต้
ตอนบน ท่าให้ภาคใต้มีฝนตกต่อเนื่องและมีฝนตกหนักบางแห่ง ส่วนหย่อมความกดอากาศต่าก่าลังแรงที่ปกคลุมบริเวณทะเลอันดามันตอนกลาง
ได้เคลื่อนไปปกคลุมบริเวณอ่าวเบงกอล ท่าให้คลื่นลมบริเวณทะเลอันดามันมีก่าลังอ่อนลง โดยมีคลื่นสูง 1?2 เมตร ส่าหรับบริเวณความกด
อากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นปกคลุมภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และทะเลจีนใต้ ประกอบกับลมตะวันออกที่พัดปกคลุมประเทศไทย
ตอนบนมีก่าลังแรงขึ้น ท่าให้ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือยังคงมีอากาศเย็นในตอนเช้า โดยในช่วงวันที่ 25?27 ต.ค. 65 บริเวณ
ประเทศไทยตอนบนจะมีฝนเกิดขึ้นได้บางพื้นที่
ค เตือน บริเวณประเทศไทยตอนบน ขอให้ประชาชนดูแลสุขภาพ เนื่องจากสภาพอากาศที่เย็นลง ส่าหรับภาคใต้ ขอให้ระวังอันตรายจากฝน
ตกหนักถึงหนักมากและฝนที่ตกสะสม ซึ่งอาจก่อให้เกิดน่าท่วมฉับพลัน น่าป่าไหลหลากและน่าล้นตลิ่งได้ส่วนชาวเรือและชาวประมงควรเพิ่ม
ความระมัดระวังในการเดินเรือ โดยเรือเล็กบริเวณทะเลอันดามันงดออกจากฝั่งจนถึงวันที่ 22 ต.ค.
ค แนะน ส หรับการเกษตร
ภาค พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า และผลกระทบต่อพืช/สัตว์
เหนือ ในช่วงวันที่ 21?25 ต.ค. 65 อากาศเย็นกับมีหมอกบางในตอนเช้า โดยมีฝนเล็กน้อยบางแห่ง ลมตะวันออกเฉียงเหนือ
ความเร็ว 10-20กม./ชม ส่วนในช่วงวันที่ 26?27ต.ค. 65 มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 10?20 ของพื้นที่ ลมตะวันออก ความเร็ว
10-20 กม./ชม. อุณหภูมิต่าสุด 20-23 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 30-34 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 70-80 %
ความยาวนานแสงแดด 5-8 ชม.
- ระยะนี้ยังคงมีอากาศเย็นกับมีหมอกบางในตอนเช้า โดยจะมีฝนบางพื้นที่ เกษตรกรควรดูแลสุขภาพ เนื่องจากอากาศ
ที่เปลี่ยนแปลง นอกจากนี้เกษตรกรควรระวังการระบาดของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราในพืชไร่ ไม้ผล และพืชผัก เช่น
โรคแอนแทรคโนสในพริกและล่าไย โรคราน่าค้างในพืชตระกูลกะหล่าและผักกาด เป็นต้น
ตะวันออก
เฉียงเหนือ
ในช่วงวันที่ 21?22 ต.ค. 65 อากาศเย็นกับมีหมอกบางในตอนเช้า โดยมีฝนเล็กน้อยบางแห่ง ลมตะวันออกเฉียงเหนือ
ความเร็ว 10-25 กม./ชม. ส่วนในช่วงวันที่ 23?27 ต.ค. 65 อากาศเย็นกับมีหมอกบางในตอนเช้า โดยในช่วงวันที่ 25?27
ต.ค. 65 มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 20?40 ของพื้นที่ ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 10-20 กม./ชม. อุณหภูมิต่าสุด 18-24
องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 31-34 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์70-80 % ความยาวนานแสงแดด 5-8 ชม.
- ระยะนี้ยังคงมีอากาศเย็นกับมีหมอกบางในตอนเช้า โดยจะมีฝนบางพื้นที่ เกษตรกรควรดูแลสุขภาพ เนื่องจากอากาศ
ที่เปลี่ยนแปลง นอกจากนี้ควรระวังการระบาดของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา โดยเฉพาะโรคราน่าค้างในพืชตระกูลแตง
เป็นต้น ส่าหรับพื้นที่การเกษตรซึ่งถูกน่าท่วมขังในช่วงที่ผ่านมา หากระดับน่าลดลงแล้ว เกษตรกรควรรีบฟื้นฟูสภาพ
สวนและแหล่งน่าให้กลับมาใช้งานได้ตามปกติ
กลาง ในช่วงวันที่ 21?22 และ 26?27 ต.ค. 65 มีเมฆบางส่วน กับมีฝนร้อยละ 20?40 ของพื้นที่ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว
10-20 กม./ชม. ส่วนในช่วงวันที่ 23?25 ต.ค. 65 มีเมฆบางส่วนกับมีหมอกบางในตอนเช้า ลมตะวันออก ความเร็ว 10-20
กม./ชม. อุณหภูมิต่าสุด 23-25 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 31-35 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 70-80 % ความ
ยาวนานแสงแดด 5-8ชม.
- ระยะนี้จะยังคงมีฝนตกบางพื้นที่ เกษตรกรควรระวังการระบาดของศัตรูพืชจ่าพวกหนอนในพืชไร่ ไม้ผล และพืชผัก
ส่าหรับพื้นที่การเกษตรซึ่งถูกน่าท่วมขังในช่วงที่ผ่านมา หากระดับน่าลดลงแล้ว เกษตรกรควรรีบระบายน่าออกจากแปลง
ปลูก ไม่ควรปล่อยให้น่าท่วมขังเป็นเวลานาน เพราะจะท่าให้รากพืชเน่าต้นพืชตายได
ตะวันออก ในช่วงวันที่ 21?22 และ 26?27 ต.ค. 65 มีเมฆบางส่วน กับมีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 20?40 ของพื้นที่ส่วนในช่วงวันที่ 23?
25 ต.ค. 65 มีหมอกบางในตอนเช้า อุณหภูมิต่าสุด 23-26 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 32-35 องศาเซลเซียส ลม
ตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-30 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร ห่างฝั่งคลื่นสูง 1-2 เมตร ความชื้นสัมพัทธ์
70-80 % ความยาวนานแสงแดด 5-8ชม.
- ระยะนี้จะยังคงมีฝนตกบางพื้นที่ เกษตรกรควรระวังการระบาดของศัตรูพืชจ่าพวกหนอนในพืชไร่ ไม้ผล และพืชผักไว้ด้วย
ส่าหรับไม้ผลที่เก็บเกี่ยวผลผลิตหมดแล้ว เกษตรกรควรตัดแต่งกิ่งและทรงพุ่ม รวมทั้งใส่ปุ๋ย เพื่อเตรียมความพร้อมของไม้ผล
ส่าหรับการติดดอก ออกผลในฤดูกาลถัดไป
ใต้ ฝั่งตะวันออก มีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 60-70 ของพื้นที่ ตลอดช่วง โดยมีฝนตกหนักบางแห่ง ลมตะวันตกเฉียงใต้
ความเร็ว 15-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร อุณหภูมิต่าสุด
23-26 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 28-34 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 80-90 % ความยาวนานแสงแดด 3-6
ชม.
ฝั่งตะวันตก มีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 60-80 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางแห่ง โดยในช่วงวันที่ 21?22 ต.ค. 65 มีฝน
ตกหนักมากบางแห่ง
ในช่วงวันที่ 21?22 ต.ค. 65 ตั้งแต่จังหวัดภูเก็ตขึ้นไป : ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 20-40 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง
2-3 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 3 เมตร ตั้งแต่จังหวัดกระบี่ลงมา : ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว
15-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร
ส่วนในช่วงวันที่ 23?27 ต.ค. 65 ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร บริเวณที่มี
ฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร อุณหภูมิต่าสุด 23-25 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 27-33 องศาเซลเซียส
ความชื้นสัมพัทธ์ 85-95 % ความยาวนานแสงแดด3-5 ชม.
- ระยะนี้จะมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางพื้นที่ซึ่งอาจก่อให้เกิดน่าท่วมฉับพลัน น่าป่าไหลหลากได้เกษตรควรระวัง
อันตรายและป้องกันความเสียหายจากสภาวะดังกล่าวไว้ด้วย ส่าหรับในช่วงที่มีฝนตกติดต่อกัน ท่าให้ดินและอากาศมี
ความชื้นสูง เกษตรกรควรระวังการระบาดของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ในพืชไร่ ไม้ผล และพืชผักไว้ด้วย ส่าหรับ
ชาวเรือและชาวประมงควรเพิ่มความระมัดระวังในการเดินเรือ โดยเรือเล็กบริเวณทะเลอันดามันงดออกจากฝั่งจนถึง
วันที่ 22 ต.ค.
PK
ลักษณะอากาศในรอบ 7 วันที่ผ่านมา
ระหว่างวันที่ 14 ? 20 ตุลาคม 2565 พายุโซนร้อน ?เซินกา (SONCA,2219)? ได้เคลื่อนขึ้นฝั่งที่เมืองกว๋างหงาย ประเทศ
เวียดนาม เมื่อช่วงเช้ามืดวันที่ 15 ต.ค. แล้วได้อ่อนก่าลังลงเป็นพายุดีเปรสชันและหย่อมความกดอากาศต่าก่าลังแรงตามล่าดับ ในเวลา
ต่อมาได้เคลื่อนเข้าปกคลุมประเทศลาว ประกอบกับมีบริเวณความกดอากาศสูงก่าลังปานกลางปกคลุมประเทศไทยตอนบนและทะเล
จีนใต้ในระยะต้นช่วง จากนั้นบริเวณความกดอากาศสูงก่าลังค่อนข้างแรงอีกระลอกหนึ่งได้แผ่ลงมาปกคลุมบริเวณดังกล่าว ลักษณะ
ดังกล่าวท่าให้ประเทศไทยตอนบนมีฝนเพิ่มขึ้นในระยะครึ่งแรกของช่วง กับมีอากาศเย็นในตอนเช้าและมีอากาศหนาวในบางพื้นที่
บริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่าหรับภาคใต้มีฝนตกชุกหนาแน่น ตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไปกับมีฝนหนักถึงหนักมาก
บางแห่งโดยเฉพาะภาคใต้ฝั่งตะวันตก เนื่องจากร่องมรสุมที่พาดผ่านภาคใต้ตอนกลางตลอดช่วง ประกอบกับมีหย่อมความกดอากาศต่า
ก่าลังแรงปกคลุมบริเวณทะเลอันดามันตอนกลางในระยะครึ่งหลังของช่วง โดยมีลมตะวันตกเฉียงใต้ก่าลังแรงพัดปกคลุมทะเลอันดามัน
และภาคใต้ในระยะดังกล่าว
อนึ่ง พายุไต้ฝุ่น ?เนสาท (NESAT,2220)? บริเวณทะเลจีนใต้ตอนบนได้อ่อนก่าลังลงเป็นพายุโซนร้อนเมื่อช่วงเช้าของวันที่ 19
ต.ค. จากนั้นได้เคลื่อนที่ผ่านทางตอนใต้ของเกาะไหหล่า ประเทศจีน แล้วอ่อนก่าลังลงเป็นพายุดีเปรสชันและหย่อมความกดอากาศต่า
บริเวณชายฝั่งประเทศเวียดนามตอนบนเมื่อช่วงบ่ายและช่วงค่าของวันที่ 20 ต.ค.
ภาคเหนือ มีฝนร้อยละ 35-60 ของพื้นที่ในระยะครึ่งแรกของช่วง กับมีฝนหนักบางแห่งในวันแรกของช่วง และมีรายงานน่า
ท่วมต่อเนื่องจากช่วงที่ผ่านมา บริเวณจังหวัดพิษณุโลกและพิจิตร นอกจากนี้มีรายงานอากาศเย็นหลายพื้นที่ในตอนเช้าในระยะครึ่งแรก
ของช่วง จากนั้นมีอากาศเย็นเกือบทั่วไป และมีอากาศหนาวบางพื้นที่ในระยะครึ่งหลังของช่วง กับมีอากาศหนาวถึงหนาวจัดบางพื้นที่
บริเวณเทือกเขาและยอดดอย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีฝนร้อยละ 65-95 ในระยะต้นช่วง จากนั้นมีฝนร้อยละ 30 ของพื้นที่ในวันที่
16 และ 20 ต.ค. โดยมีฝนหนักบางแห่งในวันแรกของช่วง และมีรายงานน่าท่วมต่อเนื่องจากช่วงที่ผ่านมาบริเวณจังหวัดขอนแก่น
หนองบัวล่าภู มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด ยโสธร นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี นอกจากนี้มีรายงาน
อากาศเย็นทั่วไปในตอนเช้าตลอดช่วง และมีอากาศหนาวบางพื้นที่บริเวณจังหวัดนครพนมในวันที่ 17 ต.ค. กับมีอากาศหนาวบางพื้นที่
บริเวณเทือกเขาและยอดภูภาคกลาง มีฝนร้อยละ 15 ของพื้นที่ในวันที่ 14 และ 20 ต.ค. จากนั้นมีฝนร้อยละ 60-75 ของพื้นที่ในวันที่
15-16 ต.ค. นอกจากนี้มีรายงานน่าท่วมต่อเนื่องจากช่วงที่ผ่านมาบริเวณจังหวัดนครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท ลพบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง
สุพรรณบุรี สระบุรี และพระนครศรีอยุธยา นอกจากนี้มีรายงานอากาศเย็นเกือบทั่วไปในตอนเช้าในระยะกลางและปลายช่วง ภาค
3
ตะวันออก มีฝนเล็กน้อยน้อยกว่าร้อยละ 20 ของพื้นที่ในวันที่ 15, 16 และ 20 ต.ค. นอกจากนี้มีรายงานน้ำท่วมต่อเนื่องจากช่วงที่ผ่าน
มาบริเวณจังหวัดปราจีนบุรี นครนายก และฉะเชิงเทรา นอกจากนี้มีรายงานอากาศเย็นหลายพื้นที่ในตอนเช้าในระยะครึ่งแรกของช่วง
จากนั้นมีอากาศเย็นบางพื้นที่ ภาคใต้ฝั่งตะวันออก มีฝนร้อยละ 65-85 ของพื้นที่เกือบตลอดช่วง โดยมีฝนหนักบางแห่งตลอดช่วงและ
มีฝนหนักมากบางพื้นที่ในวันที่ 17 และ 19 ต.ค. นอกจากนี้มีรายงานน่าท่วมบริเวณจังหวัดสงขลาในวันที่ 18-19 ต.ค. ภาคใต้ฝั่ง
ตะวันตกมีฝนมากกว่าร้อยละ 85 ของพื้นที่กับมีฝนหนักถึงหนักมากหลายแห่งตลอดช่วง นอกจากนี้มีรายงานน่าท่วมบริเวณจังหวัด
ภูเก็ต กระบี่ และสตูลในวันที่ 18-19 ต.ค.
ในช่วง 7 วัน ที่ผ่านมามีรายงานฝนตกหนักมากบริเวณจังหวัดชุมพร ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูลส่วนบริเวณจังหวัดที่มี
ฝนตกหนัก ได้แก่ ล่าพูน มุกดาหาร อุบลราชธานี ยโสธร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตตานี และยะลา

คำแนะนำสำหรับการเกษตร

ภาคเหนือ

พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า และผลกระทบต่อพืช/สัตว์

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า และผลกระทบต่อพืช/สัตว์

ภาคกลาง

พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า และผลกระทบต่อพืช/สัตว์

ภาคตะวันออก

พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า และผลกระทบต่อพืช/สัตว์

ภาคใต้

พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า และผลกระทบต่อพืช/สัตว์

ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ