พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า
คำแนะนำสำหรับการเกษตร
ภาคเหนือ
พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า และผลกระทบต่อพืช/สัตว์
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า และผลกระทบต่อพืช/สัตว์
ภาคกลาง
พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า และผลกระทบต่อพืช/สัตว์
ภาคตะวันออก
พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า และผลกระทบต่อพืช/สัตว์
ภาคใต้
คำแนะนำสำหรับการเกษตร ภาค พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า และผลกระทบต่อพืช/สัตว์ เหนือ ในช่วงวันที่ 27-30 ธ.ค. 65 อากาศเย็นถึงหนาว กับมีหมอกในตอนเช้า โดยมีฝนเล็กน้อยบางแห่งทางตอนบนของภาค ในช่วงวันที่ 29-30 ธ.ค. 65 อุณหภูมิต่ำสุด 14-19 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 27-32 องศาเซลเซียส บริเวณยอดภูอากาศหนาวถึงหนาวจัด อุณหภูมิต่ำสุด 4-12 องศาเซลเซียส ลมตะวันออกเฉียงใต้ ความเร็ว 10-15 กม./ชม. ส่วนในวันที่ 31 ธ.ค. 65 - 1 ม.ค. 66 อากาศเย็นถึงหนาว และอุณหภูมิลดลง 2-4 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุด 12-18 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 26 - 30 องศาเซลเซียส บริเวณยอดภูอากาศหนาว กับมีน้ำค้างแข็งบางพื้นที่ อุณหภูมิต่ำสุด 3-10 องศาเซลเซียส ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 10-20 กม./ชม. ความชื้นสัมพัทธ์ 60-70 % ความยาวนานแสงแดด 6-9 ชม. - ระยะนี้ยังคงมีอากาศเย็นถึงหนาว กับมีหมอกในตอนเช้า โดยอุณหภูมิจะลดลง 2-4 องศา ในช่วงวันที่ 31 ธ.ค.65 - 1 ม.ค.66 เกษตรกรควรดูแลสุขภาพ เนื่องจากอากาศที่หนาวเย็นลง สำหรับพื้นที่ซึ่งมีหมอกในตอนเช้า เกษตรกรควรระวังโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เช่น โรคราน้ำค้างในองุ่น โรคแอนแทรคโนส หรือโรคใบไหม้สีน้ำตาล โรคผลแห้งในกาแฟ เป็นต้น ส่วนเกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์โดยเฉพาะปีกควรควบคุมอุณหภูมิภายในโรงเรืองอย่าให้เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว เพื่อป์องกันสัตว์เลี้ยงปรับตัวไม่ทัน ทำให้อ่อนแอและเป็นโรคได้ง่าย ตะวันออก ในช่วงวันที่ 27-28 ธ.ค. 65 อากาศเย็นถึงหนาวกับมีหมอกบางในตอนเช้า อุณหภูมิต่ำสุด 12-17 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉียงเหนือ สูงสุด 27-30 องศาเซลเซียส บริเวณยอดภูอากาศหนาว อุณหภูมิต่ำสุด 5-12 องศาเซลเซียส ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 10-20 กม./ชม. ส่วนในช่วงวันที่ 29 ธ.ค. 65 - 1 ม.ค. 66 อากาศเย็นถึงหนาว และอุณหภูมิลดลง 2-4 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุด 10-16 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 26-28 องศาเซลเซียส บริเวณยอดภูอากาศหนาวถึงหนาวจัด อุณหภูมิต่ำสุด 4-10 องศาเซลเซียส ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 10-25 กม./ชม. ความชื้นสัมพัทธ์ 60-70 % ความยาวนานแสงแดด 7-9 ชม. - ระยะนี้ยังคงมีอากาศเย็นถึงหนาวในตอนเช้า โดยอุณหภูมิจะลดลง 2-4 องศา ในช่วงวันที่ 29 ธ.ค.65 - 1 ม.ค.66 เกษตรกรควรดูแลสุขภาพ เนื่องจากอากาศที่หนาวเย็นลง จากสภาพอากาศที่เย็นและแห้งทำให้การระเหยของน้ำบริเวณผิวดินมีมาก เกษตรกรควรคลุมดินบริเวณแปลงปลูกพืชและโคนต้นพืช รวมทั้งควรให้น้ำเพิ่มเติมแก่พืชตามความเหมาะสม เพื่อป์องการการชะงักการเจริญเติบโตของพืช นอกจากนี้เกษตรกรควรระวังศัตรูพืชจำพวกหนอนในพืชไร่ ไม้ผล และพืชผัก เช่น หนอนเจาะลำต้นและฝักในข้าวโพด เป็นต้น กลาง ในช่วงวันที่ 27?29 ธ.ค. 65 อากาศเย็นกับมีหมอกบางในตอนเช้า อุณหภูมิต่ สุด 16?20 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 28?31 องศาเซลเซียส ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 10?20 กม./ชม. ส่วนในวันที่ 30 ธ.ค. 65 ? 1 ม.ค. 66 อากาศ เย็นถึงหนาวในตอนเช้าและอุณหภูมิลดลง 1-3 องศาเซลเซียสอุณหภูมิต่ สุด 14?19 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 27? 29 องศาเซลเซียส ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 10?20 กม./ชม. ความชื้นสัมพัทธ์ 60-70 % ความยาวนาน แสงแดด 7-9 ชม. - ในช่วงวันที่ 30 ธ.ค.65 ? 1 ม.ค.66 อุณหภูมิจะลดลง 1-3 องศา ท ให้มีอากาศเย็นถึงหนาว เกษตรกรควรดูแล สุขภาพ เนื่องจากอากาศที่เย็นลง นอกจากนี้เกษตรกรควรระวังโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เช่น โรคราน้ ค้างในข้าวโพด โรคราแป้งในพืชตระกูลแตง เป็นต้น จากสภาพอากาศที่เย็นและแห้งท ให้การระเหยของน้ บริเวณผิวดินมีมาก เกษตรกรควรคลุมดินบริเวณแปลงปลูกพืชหรือโคนต้นพืช รวมทั้งให้น้ เพิ่มเติมแก่พืชอย่างเหมาะสม เพื่อป้องกันการ ชะงักการเจริญเติบโตของพืช ตะวันออก ในช่วงวันที่ 27-29 ธ.ค. 65 อากาศเย็นกับมีหมอกบางในตอนเช้า อุณหภูมิต่ สุด 16?22 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 29-32 องศาเซลเซียส ส่วนในช่วงวันที่ 30 ธ.ค. 65 ? 1 ม.ค. 66 อากาศเย็นในตอนเช้า และอุณหภูมิลดลง 1-3 องศา เซลเซียส อุณหภูมิต่ สุด 15?20 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 28?30 องศาเซลเซียส ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร ห่างฝั่งคลื่นสูง 1-2 เมตร ความชื้นสัมพัทธ์ 60-70 % ความยาวนาน แสงแดด 6-9 ชม. - ในช่วงวันที่ 30 ธ.ค.65 ? 1 ม.ค.66 อุณหภูมิจะลดลง 1-3 องศา ท ให้มีอากาศเย็นในตอนเช้า เกษตรกรควรระวัง การระบาดของศัตรูพืชจ พวกปากดูด เช่น เพลี้ยและไร เป็นต้น โดยศัตรูพืชดังกล่าวจะดูดกินน้ เลี้ยงจากส่วนต่าง ๆ ของพืช ท ให้พืชชะงักการเจริญเติบโต ผลผลิตลดลง และด้อยคุณภาพ ส หรับเกษตรกรที่มีพื้นที่การเกษตรนอกเขต ชลประทานควรวางแผนการใช้น้ ที่กักเก็บไว้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อจะได้มีน้ ใช้ทางการเกษตรตลอดช่วงแล้ง ใต้ ฝั่งตะวันออก อากาศเย็นในตอนเช้า มีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 10?20 ของพื้นที่ ส่วนมากทางตอนล่างของภาค ตลอดช่วง อุณหภูมิต่ สุด 20?25 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 28?33 องศาเซลเซียส ตั้งแต่จังหวัดสุราษฎร์ธานีขึ้นมา : ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15 - 35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร ตั้งแต่ จังหวัดนครศรีธรรมราชลงไป : ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 20 -35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณ ที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตรความชื้นสัมพัทธ์ 70-80 % ความยาวนานแสงแดด 5-8 ชม. ฝั่งตะวันตก มีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 10 ของพื้นที่ ตลอดช่วง ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-35 กม./ชม. ทะเลมี คลื่นสูงประมาณ 1 เมตร ห่างฝั่งคลื่นสูง 1-2 เมตร อุณหภูมิต่ สุด 20?25 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 29?34 องศา เซลเซียสความชื้นสัมพัทธ์ 70-80 % ความยาวนานแสงแดด 5-7 ชม. - ตอนบนของภาค มีอากาศเย็นและแห้งในตอนเช้า เกษตรกรควรระวังศัตรูพืชจ พวกปากดูดในพืชไร่ ไม้ผล และ พืชผักไว้ด้วย นอกจากนี้ควรคลุมดินบริเวณแปลงปลูกและโคนต้นพืชรวมทั้งให้น้ เพิ่มเติมแก่พืชอย่างเหมาะสม เพื่อ ป้องกันการชะงักการเติบโตของพืช ส่วนตอนล่างของภาค จะยังคงมีฝนได้ในบางพื้นที่ เกษตรกรควรระวังศัตรูพืช จ พวกหนอน โดยเฉพาะหนอนด้วงหนวดยาวในทุเรียน โดยศัตรูพืชดังกล่าวจะกัดกินรอบต้นทุเรียน ท ให้ท่อน้ ท่อ อาหารถูกตัดท ลายเป็นเหตุให้ทุเรียนทรุดโทรม ใบเหลือง ร่วง และยืนต้นตายได้ส หรับพื้นที่การเกษตรที่ถูกน้ ท่วม ขังในช่วงที่ผ่านมา หากระดับน้ ลดลงแล้ว เกษตรกรควรรีบฟื้นฟูสภาพสวนและแหล่งน้ ให้กลับมาใช้งานได้ตามปกติ PK ลักษณะอากาศในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา ระหว่างวันที่ 19 ? 26 ธันวาคม 2565 บริเวณความกดอากาศสูงก ลังแรงปกคลุมประเทศไทยตอนบนในระยะต้นสัปดาห์ จากนั้นบริเวณความกดอากาศสูงก ลังปานกลางจากประเทศจีนได้แผ่เสริมลงมาปกคลุมบริเวณดังกล่าว โดยในระยะปลายสัปดาห์ บริเวณความกดอากาศสูงก ลังค่อนข้างแรงอีกระลอกหนึ่งได้แผ่ลงมาปกคลุมประเทศไทยตอนบนและทะเลจีนใต้ ประกอบกับมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือที่พัด ปกคลุมอ่าวไทย ภาคใต้ และทะเลอันดามันมีก ลังค่อนข้างแรงในระยะครึ่งแรกของสัปดาห์ ลักษณะ ดังกล่าวท ให้บริเวณประเทศไทยตอนบนมีอากาศเย็นทั่วไปกับมีอากาศหนาวบริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส หรับ ภาคใต้มีฝนส่วนมากทางฝั่งตะวันออกของภาคในระยะครึ่งแรกของสัปดาห์ และมีรายงานน้ ท่วมในบางพื้นทีภาคเหนือ มีอากาศหนาวเกือบทั่วไปในระยะครึ่งแรกของสัปดาห์ จากนั้นอุณหภูมิสูงขึ้นแต่ยังคงมีอากาศหนาวในหลายพื้นที่ ส หรับบริเวณเทือกเขาและยอดดอยมีอากาศหนาวถึงหนาวจัด นอกจากนี้มีรายงานน้ ค้างแข็งบริเวณจังหวัดเชียงใหม่ในวันที่ 20 ธ.ค. และมีฝนเล็กน้อยบางพื้นที่ในวันแรกของสัปดาห์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีอากาศหนาวทั่วไปในระยะต้นสัปดาห์ จากนั้นอุณหภูมิ สูงขึ้นแต่ยังคงมีอากาศหนาวเกือบทั่วไป ส หรับบริเวณเทือกเขาและยอดภูมีอากาศหนาวถึงหนาวจัด ภาคกลาง มีอากาศเย็นทั่วไป ตลอดสัปดาห์ กับมีอากาศหนาวบางพื้นที่ในระยะครึ่งแรกของสัปดาห์ ภาคตะวันออก มีอากาศเย็นทั่วไปตลอดสัปดาห์ กับมีอากาศ หนาวบางพื้นที่ในระยะต้นและวันสุดท้ายของสัปดาห์ ภาคใต้ฝั่งตะวันออก มีอากาศเย็นเกือบทั่วไปเกือบตลอดสัปดาห์ โดยมีฝนร้อยละ 30-50 ของพื้นที่กับมีฝนหนักถึงหนักมากบางพื้นที่ในระยะครึ่งแรกของสัปดาห์ จากนั้นมีฝนน้อยกว่าร้อยละ 30 ของพื้นที่ นอกจากนี้มี รายงานน้ ท่วมบริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานีในวันที่ 19-20 ธ.ค. จังหวัดนครศรีธรรมราชและยะลาในวันที่ 19-22 ธ.ค. จังหวัดพัทลุง สงขลา ปัตตานี และนราธิวาสในวันที่ 19-25 ธ.ค. ภาคใต้ฝั่งตะวันตก มีอากาศเย็นบางพื้นที่เกือบตลอดสัปดาห์ โดยมีฝนร้อยละ 10- 25 ของพื้นที่ในระยะต้นและกลางสัปดาห์ ช่วง 7 วันที่ผ่านมา มีรายงานฝนตกหนักถึงหนักมากบริเวณภาคใต้ของประเทศไทย โดยมีฝนตกหนักมากบริเวณจังหวัดสงขลา ปัตตานี และนราธิวาสส่วนบริเวณจังหวัดที่มีฝนตกหนัก ได้แก่ยะลาส หรับปริมาณฝนมากที่สุด วัดได้ 192.6 มิลลิเมตร ที่อ เภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี เมื่อวันที่ 19ธันวาคม 2565
ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา