พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า ระหว่างวันที่ 17 – 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

ข่าวทั่วไป Friday February 17, 2023 14:59 —กรมอุตุนิยมวิทยา

พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า

พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า

ระหว่างวันที่ 17 ? 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

ออกประกาศวันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

ฉบับที่ 21/2566

/

พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า

ระหว่างวันที่ 17 ? 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

ออกประกาศวันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

การคาดหมายลักษณะอากาศ ในช่วงวันที่ 17?18 ก.พ. 66 บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นที่ปกคลุมประเทศไทยตอนบนและทะเลจีนใต้ มีกาลังอ่อนลง แต่ยังคงทาให้ประเทศไทยตอนบนมีอากาศเย็นถึงหนาวในตอนเช้า ส่วนในช่วงวันที่ 19?23 ก.พ. 66 บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นกาลังปานกลางระลอกใหม่จากประเทศจีนจะแผ่เสริมลงมาปกคลุมประเทศไทยตอนบนและทะเลจีนใต้ ทาให้ประเทศไทยตอนบนยังคงมีอากาศเย็นถึงหนาวในตอนเช้า กับมีลมแรง สาหรับในช่วงวันที่ 18?23 ก.พ. 66 ลมตะวันออกและลมตะวันออกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมอ่าวไทย ภาคใต้ และทะเลอันดามันจะมีกาลังอ่อนลง ทาให้ภาคใต้มีฝนลดลง ส่วนคลื่นลมบริเวณอ่าวไทยและทะเลอันดามันจะมีกาลังอ่อนลง โดยอ่าวไทยมีคลื่นสูง 1?2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ส่วนทะเลอันดามันมีคลื่นต่ากว่า 1 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร

คาเตือน บริเวณประเทศไทยตอนบนอากาศเปลี่ยนแปลง ขอให้ประชาชนดูแลสุขภาพ

คาแนะนาสาหรับการเกษตร

เหนือ

ในช่วงวันที่ 18?23 ก.พ. 66 อากาศเย็นถึงหนาวในตอนเช้า อุณหภูมิจะลดลง 2-4 องศาเซลเซียส โดยมีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 10 ของพื้นที่ ในวันที่ 18 ก.พ. 66 ส่วนมากทางตอนบนของภาค อุณหภูมิต่าสุด 15?22 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 31?36 องศาเซลเซียส บริเวณยอดดอยอากาศหนาวถึงหนาวจัด อุณหภูมิต่าสุด 5?13 องศาเซลเซียส ลมตะวันออกเฉียงใต้ ความเร็ว 10?15 กม./ชม. ความชื้นสัมพัทธ์ 60-70 % ความยาวนานแสงแดด 5-8 ชม.

- มีอากาศเย็นถึงหนาว โดยมีฝนฟ้าคะนองบางพื้นที่ในวันที่ 18 ก.พ. เกษตรกรควรดูแลสุขภาพ เนื่องจากอากาศที่เปลี่ยนแปลง สาหรับเกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์ปีกควรควบคุมอุณหภูมิภายในโรงเรือนอย่าให้เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว เพื่อป้องกันสัตว์เลี้ยงปรับตัวไม่ทัน นอกจากนี้เกษตรกรควรเฝ้าระวังการระบาดของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เช่น โรคราน้าค้าง และโรคราแป้งในพืชตระกูลแตง พืชตระกูลกะหล่าและผักกาด เป็นต้น

ตะวันออก เฉียงเหนือ

ในช่วงวันที่ 17-18 ก.พ. 66 อากาศเย็นถึงหนาวในตอนเช้า โดยมีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 10 ของพื้นที่ส่วนมากทางตอนบนของภาค อุณหภูมิต่าสุด 15?21 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 30?33 องศาเซลเซียส บริเวณยอดภูอากาศหนาว อุณหภูมิต่าสุด 11?14 องศาเซลเซียส ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 10?25 กม./ชม. ส่วนในช่วงวันที่ 19-23 ก.พ. 66 อากาศเย็นในตอนเช้า กับมีลมแรง อุณหภูมิจะลดลง 2-4 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่าสุด 14?19 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 32?35 องศาเซลเซียส บริเวณยอดภูอากาศหนาว อุณหภูมิต่าสุด 12?15 องศาเซลเซียส ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15?30 กม./ชม. ความชื้นสัมพัทธ์ 60-70 % ความยาวนานแสงแดด 5-8 ชม.

- ในช่วงวันที่ 19-23 ก.พ. อุณหภูมิจะลดลง 2-4 องศา ทาให้มีอากาศเย็นกับมีลมแรง เกษตรกรควรดูแลสุขภาพให้แข็งแรง เพื่อป้องกันการเจ็บป่วย รวมทั้งควรระวังการระบาดของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เช่น โรคราแป้งในพืชตระกูลแตง เป็นต้น เนื่องจากสภาพอากาศที่มีลมแรง เกษตรกรควรระวังและป้องกันการเกิดอัคคีภัย โดยหลีกเลี่ยงการเผาเศษวัสดุทางการเกษตร เพราะอาจลุกลามจนเป็นอัคคีภัยได้

กลาง

ในช่วงวันที่ 17?18 ก.พ. 66 อากาศเย็นในตอนเช้า อุณหภูมิต่าสุด 22?25 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 32?34 องศาเซลเซียส ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 10?20 กม./ชม. ส่วนในช่วงวันที่ 19-23 ก.พ. 66 มีอากาศเย็นในตอนเช้า โดยอุณหภูมิจะลดลง 1?3 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่าสุด 20?24 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 33?36 องศาเซลเซียส ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 10?25 กม./ชม. ความชื้นสัมพัทธ์ 60-70 % ความยาวนานแสงแดด 5-7 ชม.

- ระยะนี้อากาศเปลี่ยนแปลง เกษตรกรควรดูแลสุขภาพให้แข็งแรง เพื่อป้องกันการเจ็บป่วย สาหรับเกษตรกรที่มีพื้นที่นอกเขตชลประทานควรวางแผนการใช้น้า และใช้น้าอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อจะได้มีน้าใช้ทางด้านการเกษตรในช่วงแล้ง นอกจากนี้เกษตรกรควรระวังการระบาดของศัตรูพืชจาพวกหนอนในพืชไร่ ไม้ดอก และพืชผักไว้ด้วย

ตะวันออก

ในช่วงวันที่ 17?18 ก.พ. 66 อากาศเย็นในตอนเช้า กับมีฝนเล็กน้อยบางแห่ง ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15?35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร ห่างฝั่งคลื่นสูง 1-2 เมตร อุณหภูมิต่าสุด 22-26 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 31?34 องศาเซลเซียส ในช่วงวันที่ 19-23 ก.พ. 66 อากาศเย็นในตอนเช้า โดยอุณหภูมิจะลดลง 1?3 องศาเซลเซียส ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 10?30 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นต่ากว่า 1 เมตร ห่างฝั่งคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร อุณหภูมิต่าสุด 20?24 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 32?35 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 60-70 % ความยาวนานแสงแดด 5-8 ชม.

- ระยะนี้อากาศเปลี่ยนแปลง เกษตรกรควรดูสุขภาพให้แข็งแรง เพื่อป้องกันการเจ็บป่วย นอกจากนี้ควรระวังและป้องกันการระบาดของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เช่น โรคราแป้งในมะม่วง โรคราน้าค้างในพืชตระกูลแตง โรคแอนแทรคโนสในมะม่วง เป็นต้น สาหรับเกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์น้า ต้องเลี้ยงไม่หนาแน่นจนเกินไป ควรปรับลดอัตราการเลี้ยงลง เพื่อให้ปลาอยู่สบายขึ้น เพราะอากาศที่ร้อนในตอนกลางวันจะทาให้น้าเน่าเสียได้ง่าย

ใต้

ฝั่งตะวันออก ในช่วงวันที่ 18-23 ก.พ. 66 มีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 10-30 ของพื้นที่ ส่วนมากทางตอนล่างของภาค

ตั้งแต่ จ.สุราษฎร์ธานี ขึ้นมา : ลมตะวันออกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 1 เมตร

ตั้งแต่ จ.นครศรีธรรมราช ลงไป : ลมตะวันออก ความเร็ว 15-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร อุณหภูมิต่าสุด 21?26 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 29?35 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 65-75 % ความยาวนานแสงแดด 5-8 ชม.

ฝั่งตะวันตก ในช่วงวันที่ 18?23 ก.พ. 66 มีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 10?30 ของพื้นที่ ลมตะวันออก ความเร็ว 10-30 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นต่ากว่า 1 เมตร ห่างฝั่งคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร อุณหภูมิต่าสุด 22?27 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 32?36 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 65-75 % ความยาวนานแสงแดด 5-8 ชม.

- ระยะนี้ปริมาณและการกระจายของฝนมีน้อย เกษตรกรควรระวังการระบาดของศัตรูพืชจาพวกหนอนในพืชไร่ ไม้ผล และพืชผัก นอกจากนี้ควรวางแผนการใช้น้าที่กักเก็บไว้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อจะได้มีน้าใช้ทางด้านการเกษตรในช่วงแล้ง รวมทั้งควรคลุมดินบริเวณแปลงปลูกพืชและโคนต้นพืช เพื่อชะลอการระเหยของน้าบริเวณผิวดิน

ลักษณะอากาศในรอบ 7 วันที่ผ่านมา

ระหว่างวันที่ 10-16 กุมภาพันธ์ 2566 ลมใต้และลมตะวันออกเฉียงใต้พัดปกคลุมภาคเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกในระยะครึ่งแรกของช่วง ประกอบกับมีลมฝ่ายตะวันตกในระดับบนเคลื่อนเข้าปกคลุมภาคเหนือตอนบน โดยมีหย่อมความกดอากาศต่าเนื่องจากความร้อนปกคลุมประเทศไทยตอนบนในระหว่างวันที่ 11-13 ก.พ. โดยในระยะครึ่งหลังของช่วงบริเวณความกดอากาศสูงกาลังค่อนข้างแรงจากประเทศจีนได้แผ่ปกคลุมประเทศไทยตอนบน นอกจากนี้มีคลื่นกระแสลมฝ่ายตะวันตกเคลื่อนปกคลุมภาคเหนือในวันสุดท้ายของช่วง ลักษณะดังกล่าวทาให้บริเวณประเทศไทยตอนบนยังคงมีอากาศเย็นในตอนเช้าส่วนมากบริเวณภาคเหนือและตอนบนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนในตอนกลางวันมีอากาศร้อนในหลายพื้นที่ กับมีฝนตกบางแห่งเกือบตลอดช่วง กับมีรายงานลมกระโชกแรงและลูกเห็บตกบางพื้นที่ สาหรับลมตะวันออกและลมตะวันออกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมอ่าวไทย ภาคใต้ และทะเลอันดามันมีกาลังอ่อนเกือบตลอดช่วง ทาให้ภาคใต้มีฝนในบางพื้นที่ในบางวัน

ภาคเหนือ มีอากาศเย็นเกือบทั่วไปในตอนเช้าเกือบตลอดช่วง กับมีอากาศหนาวทางหลายพื้นที่ทางตอนบนและบางพื้นที่ทางตอนล่างของภาคเกือบตลอดช่วง ส่วนในตอนกลางมีอากาศร้อนหลายพื้นที่ในระยะต้นและกลางช่วง สาหรับบริเวณเทือกเขาและยอดดอยมีอากาศหนาวถึงหนาวจัด มีรายงานน้าค้างแข็งบางพื้นที่ของจังหวัดเชียงใหม่ในวันที่ 14-15 ก.พ. โดยมีฝนร้อยละ 15-30 ของพื้นที่กับมีฝนหนักบางแห่งในระยะปลายช่วง มีรายงานลมกระโชกแรงบริเวณจังหวัดเชียงรายและอุตรดิตถ์ในวันที่ 15 ก.พ. และจังหวัดเชียงใหม่ในวันที่ 16 ก.พ. และเกิดลูกเห็บบริเวณจังหวัดเชียงใหม่ในวันที่ 16 ก.พ. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีอากาศเย็นหลายพื้นที่ในตอนเช้าในระยะต้นและกลางช่วง จากนั้นมีอากาศเย็นทั่วไปกับมีอากาศหนาวบางพื้นที่ทางตอนบนภาค ส่วนในตอนกลางวันมีอากาศร้อนหลายพื้นที่ในระยะต้นและกลางช่วง สาหรับบริเวณเทือกเขาและยอดภูมีอากาศหนาว โดยมีฝนร้อยละ 5-25 ของพื้นที่เกือบตลอดช่วง กับมีฝนหนักบางแห่งในวันที่ 13-14 ก.พ. โดยมีลมกระโชกแรงบริเวณจังหวัดกาฬสินธุ์ อานาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร สุรินทร์ มหาสารคาม และอุบลราชธานีในวันที่ 14 ก.พ. ภาคกลาง มีอากาศเย็นส่วนมากทางตอนล่างของภาคในตอนเช้า ส่วนในตอนกลางวันมีอากาศร้อนหลายพื้นที่ในระยะต้นและกลางช่วง โดยมีฝนร้อยละ 10-40 ของพื้นที่ในระยะปลายช่วง กับมีฝนหนักบางแห่งใน วันที่ 15 ก.พ. ภาคตะวันออก มีอากาศเย็นทางตอนบนของภาคในตอนเช้าในวันสุดท้ายของช่วง ส่วนในตอนกลางวันมีอากาศร้อนหลายพื้นที่ทางตอนบนของภาคในระยะต้นและกลางช่วง โดยมีฝนร้อยละ 5-25 ของพื้นที่ในวันที่ 10, 13 และ 14 ก.พ. กับมีฝนร้อยละ 85 ของพื้นที่ในวันที่ 15 ก.พ. โดยมีฝนหนักบางแห่งในวันที่ 14-15 ก.พ. ภาคใต้ฝั่งตะวันออก มีอากาศเย็นหลายพื้นที่ในตอนเช้าตลอดช่วง ส่วนในตอนกลางวันมีอากาศร้อนบางพื้นที่ในบางวัน โดยมีฝนร้อยละ 10-55 ของพื้นที่ในระยะต้นและปลายช่วง กับมีฝนหนักบางแห่งในวันสุดท้ายของช่วง ภาคใต้ฝั่งตะวันตก มีอากาศเย็นหลายพื้นที่ในตอนเช้าเกือบตลอดช่วง ส่วนในตอนกลางวันมีอากาศร้อนบางพื้นที่เกือบตลอดช่วง โดยมีฝนร้อยละ 15-25 ของพื้นที่ในวันที่ 10, 14 และ 16 ก.พ.

ในช่วง 7 วันที่ผ่าน มีรายงานฝนตกหนักมากบริเวณกรุงเทพมหานคร ส่วนบริเวณจังหวัดที่มีฝนตกหนัก ได้แก่ เชียงราย พะเยา แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ศรีสะเกษ อุทัยธานี พระนครศรีอยุธยา นครปฐม ราชบุรี สมุทรสงคราม สมุทรปราการ ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง ชุมพร สุราษฎร์ธานี นราธิวาส และระนอง

ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ