พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า
ระหว่างวันที่ 4 - 10 ตุลาคม พ.ศ. 2566 ออกประกาศวันพุธ ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2566 กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 119/2566 การคาดหมายลักษณะอากาศในช่วงวันที่ 5-7 ต.ค. 66 ร่องมรสุมพาดผ่านภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาค/ ตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบกับมีหย่อมความกดอากาศต่าเคลื่อนตามแนวร่องมรสุมที่พาดผ่านภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคเหนือ ในขณะที่มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทยมีก่าลังปานกลาง ลักษณะเช่นนี้ท่าให้ประเทศไทยมีฝนตกหนักบางแห่ง และมีฝนตกหนักมากบางพื้นที่ในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางรวมทั้งกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และภาคตะวันออก ส่วนในช่วงวันที่ 8-10 ต.ค. 66 ร่องมรสุมจะเลื่อนลงมาพาดผ่านภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง และภาคใต้ตอนบน เนื่องจากบริเวณความกดอากาศสูงก่าลังปานกลางจากประเทศจีนจะแผ่ลงมาปกคลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยและทะเลจีนใต้ ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ยังคงพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทย ลักษณะเช่นนี้ท่าให้ประเทศไทยยังคงมีฝนตกต่อเนื่อง กับมีลมกระโชกแรง และมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง คำเตือน ขอให้เกษตรกรระวังอันตรายจากสภาวะลมกระโชกแรง ฝนตกหนักถึงหนักมากและฝนที่ตกสะสม ซึ่งอาจก่อให้เกิดน่าท่วมฉับพลัน น่าป่าไหลหลาก รวมทั้งหลีกเลี่ยงการอยู่ในที่โล่งแจ้ง ใต้ต้นไม้ใหญ่ และป์ายโฆษณาที่ไม่แข็งแรง
คำแนะนำสำหรับการเกษตร ภาค พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า และผลกระทบต่อพืช/สัตว์ เหนือ ในช่วงวันที่ 4-5 ต.ค. 66 มีฝนฟ์าคะนองร้อยละ 30-40 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางแห่งบริเวณตอนล่างของภาค อุณหภูมิต่าสุด 23-27 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 32-36 องศาเซลเซียส ส่วนในช่วงวันที่ 6-10 ต.ค. 66 มีฝนฟ์าคะนองร้อยละ 60-80 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางแห่ง โดยมีฝนตกหนักมากบางพื้นที่ในช่วงวันที่ 6-8 ต.ค. 66 อุณหภูมิต่าสุด 22-26 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 29-35 องศาเซลเซียส ลมแปรปรวน ความเร็ว 5-15 กม./ชม. ความชื้นสัมพัทธ์ 80-90 % ความยาวนานแสงแดด 4-7 ชม. - ในช่วงวันที่ 6-10 ต.ค. จะมีฝนเพิ่มขึ้น และมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางพื้นที่ ซึ่งอาจก่อให้เกิดน่าท่วมฉับพลัน น่าป่าไหลหลากได้ เกษตรกรควรระวังอันตรายและป์องกันความเสียหายจากสภาวะดังกล่าว ส่าหรับพื้นที่การเกษตรที่ถูกน่าท่วมขังในช่วงที่ผ่านมา หากระดับน่าลดลงแล้ว เกษตรกรควรรีบฟื้นฟูสภาพสวนและแหล่งน่า เพื่อลดความสูญเสีย รวมทั้งควรเฝ์าระวังการระบาดของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราในพืชไร่ ไม้ดอก ไม้ผล และพืชผักตะวันออก ในช่วงวันที่ 4-8 ต.ค. 66 มีฝนฟ์าคะนองร้อยละ 60-80 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางแห่ง โดยมีฝนตกหนักมากบางพื้นที่เฉียงเหนือ ในช่วงวันที่ 7-8 ต.ค. 66 ลมแปรปรวน ความเร็ว 10-20 กม./ชม. อุณหภูมิต่าสุด 23-27 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 29-35 องศาเซลเซียส ส่วนในช่วงวันที่ 9-10 ต.ค. 66 มีฝนฟ์าคะนองร้อยละ 30-40 ของพื้นที่ ลมตะวันออก ความเร็ว 10-25 กม./ชม. อุณหภูมิต่าสุด 21-25 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 32-35 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 80-90 % ความยาวนานแสงแดด 4-7 ชม. - ในช่วงวันที่ 4-8 ต.ค. มีฝนตกชุก โดยจะมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางพื้นที่ ซึ่งอาจก่อให้เกิดน่าท่วมฉับพลัน น่าป่าไหลหลากได้ เกษตรกรควรระวังอันตรายและป์องกันความเสียหายจากสภาวะดังกล่าว รวมทั้งควรเฝ์าระวังการระบาดของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เช่น โรคราน่าค้างในผักตระกูลกะหล่าและผักกาด โรคเน่าเปียกในพริก เป็นต้น ส่าหรับเกษตรที่เลี้ยงสัตว์ไม่ควรปล่อยให้สัตว์เลี้ยงอยู่ในที่ชื้นแฉะ เพราะอาจท่าให้สัตว์เลี้ยงเจ็บป่วยได้ กลาง ในช่วงวันที่ 4-6 และ 10 ต.ค. 66 มีฝนฟ์าคะนองร้อยละ 70-80 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง ลมแปรปรวน ความเร็ว 10-25 กม./ชม. ส่วนในช่วงวันที่ 7-9 ต.ค. 66 มีฝนฟ์าคะนองร้อยละ 60-70 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางแห่ง ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 10-20 กม./ชม. อุณหภูมิต่าสุด 23-27 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 31-36 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 85-95 % ความยาวนานแสงแดด 2-5 ชม. - ระยะนี้มีฝนชุกหนาแน่น โดยจะมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางพื้นที่ ซึ่งอาจก่อให้เกิดน่าท่วมฉับพลัน น่าป่าไหลหลาก และน่าล้นตลิ่งได้ เกษตรกรควรระวังอันตรายและเตรียมการป์องกันความเสียหายจากสภาวะดังกล่าว ส่าหรับพื้นที่เกษตรที่เป็นที่ลุ่มเกษตรกรควรท่าทางระบายออกจากพื้นที่เพื่อป์องกันน่าท่วมขัง เมื่อมีฝนตกหนัก รวมทั้งควรเฝ์าระวังการระบาดของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราและเชื้อแบคทีเรีย เช่น โรคโรคแอนแทรคโนสในพริก โรคราน่าค้างในผักตระกูลกะหล่าและผักกาด โรคใบจุดด่าในกุหลาบ เป็นต้น
ตะวันออก มีฝนฟ์าคะนองร้อยละ 60-80 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางแห่งตลอดช่วง โดยมีฝนตกหนักมากบางพื้นที่ ในช่วงวันที่ 4-5 ต.ค. 66 อุณหภูมิต่าสุด 24-28 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 29-35 องศาเซลเซียส ในช่วงวันที่ 4-5 ต.ค. 66 ลมแปรปรวน ความเร็ว 15-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ์าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ส่วนในช่วงวันที่ 6-10 ต.ค. 66 ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ์าคะนองคลื่นสูง 1-2 เมตร ความชื้นสัมพัทธ์ 85-95 % ความยาวนานแสงแดด 2-5 ชม. -ระยะนี้จะยังคงมีฝนชุกหนาแน่น โดยมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางพื้นที่ ซึ่งอาจก่อให้เกิดน่าท่วมฉับพลัน น่าป่าไหลหลากได้ เกษตรกรควรระวังอันตรายและป์องกันความเสียหายจากสภาวะดังกล่าว ส่าหรับในช่วงที่มีฝนตกชุกจะท่าให้ในดินและอากาศมีความชื้นสูง เกษตรกรควรระวังการระบาดของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราและเชื้อแบคทีเรียในพืชไร่ ไม้ผล ไม้ดอก และพืชผัก ส่วนเกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์ไม่ควรปล่อยให้สัตว์เลี้ยงอยู่ในที่ชื้นแฉะ เพราะอาจท่าให้สัตว์เลี้ยงเจ็บป่วยได้ ใต้ ฝั่งตะวันออก มีฝนฟ์าคะนองร้อยละ 40-60 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางแห่งตลอดช่วง อุณหภูมิต่าสุด 23-27 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 29-35 องศาเซลเซียส ในช่วงวันที่ 4-5 ต.ค. 66 ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ์าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ในช่วงวันที่ 6-10 ต.ค. 66 ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ์าคะนองคลื่นสูง 1-2 เมตร ความชื้นสัมพัทธ์ 80-90 % ความยาวนานแสงแดด 4-7 ชม. ฝั่งตะวันตก ในช่วงวันที่ 4-7 ต.ค. 66 มีฝนฟ์าคะนองร้อยละ 60-80 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางแห่ง ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ์าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ในช่วงวันที่ 8-10 ต.ค. 66 มีฝนฟ์าคะนองร้อยละ 40-60 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางแห่ง ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ์าคะนองคลื่นสูง 1-2 เมตร อุณหภูมิต่าสุด 23-27 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 28-34 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 85-95 % ความยาวนานแสงแดด 3-7 ชม. - ระยะนี้มีฝนตกหนักในบางพื้นที่ เกษตรกรควรระวังอันตรายและป์องความเสียหายจากสภาวะดังกล่าว โดยดูแลระบบระบายน่าให้มีประสิทธิภาพ เพื่อป์องกันน่าท่วมขังพื้นที่การเกษตร เมื่อมีฝนตกหนัก ส่าหรับบริเวณพื้นที่ซึ่งมีฝนตกชุก เกษตรกรควรระวังการระบาดของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เช่น โรคหน้ากรีดยางในยางพารา โรครากเน่าโคนเน่าในไม้ผล โรคยอดเน่าในปาล์มน่ามัน เป็นต้น ส่วนเกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์น่าควรเปิดเครื่องตีน่าหลังจากฝนตก เพื่อป์องกันน่าแยกชั้นแล้วยังเป็นการเติมออกซิเจนในน่า PK ลักษณะอากาศในรอบ 7 วันที่ผ่านมา
ระหว่างวันที่ 26 กันยายน - 3 ตุลาคม 2566 มีรายงานฝนตกหนักมากบริเวณจังหวัดเชียงใหม่ ล่าพูน แพร่ อุตรดิตถ์ ตาก สุโขทัย พิษณุโลก เลย อุดรธานี ร้อยเอ็ด นครราชสีมา ศรีสะเกษ ลพบุรี สุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา กรุงเทพมหานคร นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ระยอง จันทบุรี ตราด และระนอง ส่วนบริเวณจังหวัดที่มีฝนตกหนัก ได้แก่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ล่าปาง น่าน ก่าแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ์ หนองบัวล่าภู สกลนคร นครพนม มุกดาหาร กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ขอนแก่น ชัยภูมิ บุรีรัมย์ อุบลราชธานี อ่านาจเจริญ ยโสธร นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง กาญจนบุรี นครปฐม สมุทรสงคราม สมุทรปราการ ชลบุรี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส พังงา ตรัง และสตูล
ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา